กรมบัญชีกลาง (The Comptroller General’s Department) เป็นกรมในสังกัดกระทรวงการคลัง มีภารกิจเกี่ยวกับการควบคุมดูแลการใช้จ่ายเงินของแผ่นดิน และของหน่วยงานภาครัฐให้เป็นไปโดยถูกต้อง มีวินัย คุ้มค่า โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ โดยการวางกรอบหลักเกณฑ์กลางให้หน่วยงานภาครัฐถือปฏิบัติ การให้บริการคำแนะนำปรึกษาด้านการเงินการคลัง การบัญชี การตรวจสอบภายใน การบริหารเงินนอกงบประมาณ และการพัสดุภาครัฐ การดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารเงินคงคลังให้มีใช้จ่ายอย่างเพียงพอ และการเสนอข้อมูลในเชิงนโยบายการคลังแก่ฝ่ายบริหาร โดยประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดเสถียรภาพทางการคลัง รวมทั้งดำเนินการเกี่ยวกับการประเมินผลการคลังภาครัฐ การกำกับดูแลนโยบายและมาตรฐานค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์ของบุคลากรภาครัฐ
กรมบัญชีกลาง มีภารกิจหลัก 4 ภารกิจ ดังนี้ 1) ควบคุมการเบิกจ่ายเงินแผ่นดิน 2) ควบคุมการใช้จ่ายเงินของส่วนราชการ 3) ควบคุมงบบุคลากรภาครัฐ และ 4) สนับสนุนนโยบายของกระทรวงการคลังและรัฐบาล Truemoney wallet
วิสัยทัศน์ (Vision) กรมบัญชีกลาง เงินเดือน 2564
กำกับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิดประโยชน์สูงสุด
พันธกิจ (Mission)
1. กำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ แนวปฏิบัติด้านกฎหมายการคลัง บัญชี การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ การตรวจสอบภายใน ค่าตอบแทนและสวัสดิการ เงินนอกงบประมาณ ลูกจ้างและความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ให้สอดคล้องกับการรักษาวินัยและความยั่งยืนทางการคลัง
2. บริหารเงินสดกับภาครัฐ บริหารการรัล จ่ายเงิน ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้ระบบเทคโนโลที่ทันสมัย
3. สนับสนุนการบริหารเศรษฐกิจการคลังในส่วนภูมิภาค กรมบัญชีกลาง สมัครสอบ
4. พัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรภาครัฐทางด้านการบริหารการเงินการคลัง
5. เป็นศูนย์ข้อมูลสารสนเทศทางการคลัง superslot
ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic)
ยุทธศาสตร์ที่ 1
– การเป็นกลไลกำกับการเงินการคลังเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ (Smart Regulator : SR)
ยุทธศาสตร์ที่ 2
– การเป็นกลไกจัดระบบบริหารการเงินการคลังเพื่อการให้บริการที่เป็นเลิศ (Excellence Service : ES)
ยุทธศาสตร์ที่ 3 กรมบัญชีกลาง
– การเสริมสร้างความเข้มแข็งองค์กรด้วยระบบดิจิทัล (Digital CGD : DC)
หน้าที่ความรับผิดชอบ
1. ให้คำปรึกษาหรือข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาระบบริหารการคลังของประเทศในด้านการบริหารเงิน
คงคลัง ต่อกระทรวงการคลัง และคณะรัฐมนตรี
2. กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง และหลักเกณฑ์ด้านการเงิน การคลัง การบัญชี
การพัสดุภาครัฐและการตรวจสอบภายใน เพื่อให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐถือปฏิบัติ
3. การกำหนดนโยบายและมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
4. การกำหนดนโยบายและมาตรฐาน การกำกับดูแล และการพัฒนาเกี่ยวกับการ
ตรวจสอบภายในภาครัฐ กรมบัญชีกลาง egp
5. การประเมินผลการคลังภาครัฐในความรับผิดชอบของกรม รวมทั้งติดตามการ
ดำเนินงานและการบริหารด้านการคลัง เพื่อประกอบการพิจารณาเสนอแนะนโยบายด้านการคลังของประเทศ
6. ควบคุม ดูแล และตรวจสอบการเบิกจ่ายเงินของหน่วยงานภาครัฐ การก่อหนี้ผูกพัน การนำเงินส่งคลัง
และการถอนคืนเงินรายได้แผ่นดิน รวมทั้งพิจารณาทำความตกลงในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณตามที่ส่วนราชการขอทำความตกลง
7. การบริหารเงินคงคลัง
8. พัฒนาระบบบริหารเงินนอกงบประมาณในด้านกำกับดูแล การติดตามประเมินผล การใช้จ่ายเงินนอก
งบประมาณ การทบทวนประสิทธิภาพและความจำเป็นในการดำเนินงานของเงินนอกงบประมาณอย่างเป็นระบบที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการพัฒนากฎระเบียบที่เกี่ยวข้องในการกำกับและบริหารเงินนอกงบประมาณของหน่วยงานภาครัฐ
9. กำหนด ปรับปรุง และพัฒนามาตรฐานค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์ของบุคลากรภาครัฐ
10. พัฒนาระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ และกำกับดูแลการบริหารการเงินการ
คลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์กรมบัญชีกลาง
11. กำหนดมาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ระบบบัญชี ตลอดจนการจัดทำและวิเคราะห์รายงานการเงินของแผ่นดิน
12. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ และความรับผิดทางแพ่งของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ
13การพัฒนาระบบการบริหารบุคคลลูกจ้างของส่วนราชการ
14. การพัฒนาบุคลากรด้านการเงินการคลัง การบัญชี การตรวจสอบภายใน และการพัสดุภาครัฐ
15. ให้คำปรึกษา เสนอแนะ และให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการและการปฏิบัติงานทางการเงินการคลัง การบัญชี การพัสดุภาครัฐ การตรวจสอบภายใน แก่ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ
16. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นหน้าที่และอำนาจของกรมหรือตามที่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
หน่วยงานภายใน
1. ตรวจสอบภายใน
2. พัฒนาระบบบริหาร
3. พัฒนาระบบลูกจ้าง
4. สำนักงานเลขานุการกรม กรมบัญชีกลาง
5. กองกฎหมาย
6. กองการเงินการคลังภาครัฐ
7. กองการพัสดุภาครัฐ
8. กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ
9. กองคดี
10. กองความร่วมมือและความโปรงใสในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
11. กองค่าตอบแทนและประโยชน์เกื้อกูล
12. กองตรวจสอบภาครัฐ
13. กองบริหารการเบิกจ่ายเงินเดือน ค่าจ้าง บำเหน็จบำนาญ
14. กองบริหารการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ
15. กองบริหารทรัพยากรบุคคล
16. กองบัญชีภาครัฐ
17. กองยุทธศาสตร์และแผนงาน
18. กองระบบการคลังภาครัฐ
19. กองระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐและราคากลาง
20. กองละเมิดและแพ่ง
21. กองสวัสดิการรักษาพยาบาล
22. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
23. สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการคลังและบัญชีภาครัฐ
24. สำนักงานคลังเขต 1-9
25. สำนักงานคลังจังหวัด